วิกิฟรังกา
- Groupe de discussion Telegram
- Liste de distribution : wikifranca
lists.wikimedia.fr
หน้าหลัก | Organisation | Membres | Activités | Micro-financement | Assemblée générale | Stratégie |
---|
วิกิฟรังกา เป็นความร่วมมือระหว่างสาขาวิกิมีเดียประชาคมโลกฝรั่งเศสและองค์กรดำเนินงานในเครือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนกิจกรรมในโครงการวิกิมีเดียภาษาฝรั่งเศส เช่น วิกิพีเดีย และโครงการพี่น้อง ทั้งในเว็บไซต์และภาคพื้นดิน ซึ่งไม่เพียงแต่จะช่วยให้กลุ่มผู้ใช้ในประเทศที่มีสาขาในประเทศของพวกเขาได้มีการจัดกิจกรรมและอีเวนต์ที่เกิดขึ้นในชุมชนของพวกเขารวมถึงในภาษาของพวกเขา หากแต่ยังเป็นการสร้างสะพานเชื่อมระหว่างประเทศที่เข้าร่วมในโครงการวิกิมีเดียในภาษาฝรั่งเศส
ประวัติ
แนวคิดของการเป็นหุ้นส่วนระหว่างสาขาประชาคมโลกฝรั่งเศสได้รับการกล่าวถึงครั้งแรกในปี ค.ศ. 2011 ที่ลานประชาคมโลกแห่งภาษาฝรั่งเศส (Forum mondial de la langue française) ซึ่งสมาชิกหลายคนของวิกิมีเดียฝรั่งเศส, วิกิมีเดียแคนาดา และคณะกรรมการรัฐควิเบกได้เข้าร่วมเพื่อนำเสนอที่ฟอรัมซึ่งจัดขึ้นในเมืองควิเบก การอภิปรายเป็นไปได้ด้วยดีเนื่องจากการสร้าง"ฟรองโกโกป" โดยอิงจากรูปแบบอีเบโรโกป ที่ยังไม่ได้ตัดสินใจ
ในปี ค.ศ. 2012 ได้การประชุมสาขาประชาคมโลกฝรั่งเศสครั้งแรก โดยจัดขึ้นที่วิกิเมเนียวอชิงตัน เพื่ออภิปราย, นำเสนอโครงการ และการแลกเปลี่ยนความคิดสร้างสรรค์ ในบรรดาประเทศที่เป็นตัวแทนในการประชุมครั้งนี้ ซึ่งมีประเทศเบลเยียม, แคนาดา, อิตาลี, สวิตเซอร์แลนด์ และตูนิเซีย ในระหว่างการประชุมครั้งนี้ เป็นการทำงานร่วมกันระหว่างสาขาประชาคมโลกฝรั่งเศสอย่างเห็นได้ชัด
ที่วิกิเมเนียในปี ค.ศ. 2013 สาขาประชาคมโลกฝรั่งเศสได้จัดการประชุมครั้งที่สอง ซึ่งเป็นผู้ประสานงานได้รับการเลือกตั้งและจัดวิกิฟรังกาอย่างเป็นทางการ ส่วนโครงการทั่วโลกครั้งแรกจัดขึ้นในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2013 โดยให้ชื่อว่าเดือนแห่งการสนับสนุนกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการระดับนานาชาติ (Mois international de la contribution francophone) โดยมี 26 การประชุมเชิงปฏิบัติการใน 21 เมืองทั่วโลก อีเวนต์นี้มีรายงานข่าวของสื่อไปทั่วโลก ซึ่งได้รับการสนับสนุนการจัดงานแผ่ไปทั่วโลก
การสังเกต
รูปแบบของสาขาแห่งชาติจัดได้ว่ามีประสิทธิภาพสำหรับประเทศที่มีภาษาและวัฒนธรรมเป็นเนื้อเดียวกัน แต่ความเป็นจริงที่ค่อนข้างแตกต่างกันสำหรับประเทศที่อยู่ร่วมกับภาษาฝรั่งเศส กับภาษาอื่นและเป็นภาษาชนกลุ่มน้อย หรือที่มีเพียงกลุ่มเล็ก ๆ ของชาววิกิพีเดียที่พูดภาษาฝรั่งเศสจะถูกจำกัด ด้วยการขาดผู้เข้าร่วมการมีส่วนร่วมแบบเรื้อรังนั้น ดูเหมือนว่าจะมีความสำคัญสำหรับการทำงานร่วมกันระหว่างประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการ ได้อยู่ในสถานที่ที่ตอบสนองความต้องการของกลุ่มคนเหล่านี้
หนึ่งในความท้าทายของสาขาที่พูดได้หลายภาษา คือการที่สมาชิกของพวกเขาทำงานในโครงการวิกิมีเดียต่าง ๆ นี่อาจดูเหมือนไม่มีนัยสำคัญ แต่มันก็เป็นที่ชัดเจนว่านี้สร้างความยากลำบากในการสร้างการทำงานแบบเกาะกลุ่ม เนื่องจากผู้ใช้มีส่วนร่วมในมุมมองที่แตกต่างกันของวิกิพีเดีย, วิกิซอร์ซ ฯลฯ สมาคมของสาขากลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการ จึงมาจากความพยายามของผู้มีความปรารถนาที่จะมีส่วนร่วมกับโครงการวิกิมีเดียภาษาฝรั่งเศส
นอกจากนี้ ในบางประเทศไม่ได้มีความเป็นไปได้ในการสร้างสาขา และมันอาจจะไม่เป็นตัวเลือกที่ทำงานได้ เช่นกลุ่มประเทศในทวีปแอฟริกาที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการ รัฐควิเบกเป็นอีกตัวอย่างหนึ่งของรัฐที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการซึ่งเป็นภาษาส่วนใหญ่ และผู้มีส่วนร่วมของรัฐควิเบกมีปัญหาเล็ก ๆ น้อย ๆ ในการสร้างความเติบโตให้แก่สาขา ที่ซึ่งผู้มีส่วนร่วมเป็นกลุ่มคนที่พูดภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ส่วนประเทศเบลเยียมและตูนิเซียก็ประสบปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
Galerie d'images
-
Photo du groupe des participants et participantes à la WikiConvention francophone de Bruxelles 2019.
-
Photo du groupe des participants et participantes à la WikiConvention francophone de Grenoble 2018.
-
Cérémonie de remise des prix du WikiChallenge Ecoles d'Afrique au Mali, 2018.
-
Atelier de contribution à Douala, Cameroun, 2018.
-
Journée contributive Germain Muller à la bibliothèque des Musées de Strasbourg, 2013.
-
Mois de la contribution francophone à Oran, Algérie.
-
#1Lib1ref à Abidjan, Côte d'Ivoire, 2018.
-
Edit-a-thon entrepreneuriat social à l'ESCP Europe, 2016.
-
Jimmy Wales inaugure le WikiCheese à Wikimania Afrique du Sud.
-
École d'été du numérique à Haïti.
Actualités
2022
- Novembre ː WikiFranca (association à but non lucratif) est heureuse d'accueillir en son sein un nouveau membre; il s'agit de WikiInAfrica. Cette association à but non lucratif sera officiellement présentée lors de l'Assemblée générale.
- 19 et 20 novembre ː WikiConvention Francophone 2022
- 18 novembre ː Assemblée générale de WikiFranca (association à but non lucratif)
- 17 et 18 novembre ː Journées internationales d’apprentissage et de perfectionnement
- 9-11 septembre ː WikiFranca participe au wikimedia summit à Berlin
- Juin ː WikiFranca participe à la consultation des acteurs du mouvement pré-sentis pour constituer des hubs
- Mai ː Le comité de WikiFranca demande à Wikimédia France d'organiser la WikiConvention Francophone 2022 et choisi le Wikimedia Community Usergroup de Côte d'Ivoire parmi les trois candidats pour organiser la WikiConvention Francophone 2023.
- 12 Mars ː WikiFranca participe à la discussion sur les Hubs de la Fondation
- Mars ː Mois international de la contribution francophone
- Février ː élaboration du plan d'action 2022
2021
- 20 Novembre : Procès verbal de l'Assemblée constitutive de WikiFranca
- 20 et 21 Novembre : WikiConvention Francophone 2021
- 13 Octobre : Réunion générale - charte de gouvernance 3ème jet et proposition de statuts
- 1er Septembre : Réunion générale - amendement charte de coopération et 2ème jet charte de gouvernance
- 15 juillet : Webinaire finances puis charte de gouvernance 1er jet
- 1er au 31 Mai : Mois Africain Wikipédia
- 1er au 31 Mars : Mois de la contribution
- 15 Janvier : Les 20 ans de Wikipédia en Guinée
โครงการและกิจกรรม
Participants
Chapitres établis Groupes d'utilisateurs Groupes informels Participants potentiels
Contact
- Groupe de discussion Telegram
- Liste de distribution : wikifranca
lists.wikimedia.fr